หลักสูตรพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา (คูปองครู)

=>> ความลุ่มลึกของหลักสูตร : ระดับพื้นฐาน

ระดับช่วงชั้นในการศึกษา : ระดับประถมศึกษา
  1. การพัฒนาสมรรถนะครูคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาด้านเทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียนเพื่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข (ผศ.ดร.มะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์ ดร.ฉลองชัย กล้าณรงค์ (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
ระดับช่วงชั้นในการศึกษา : ระดับ ม.ต้น
  1. การพัฒนาสมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ด้านกระบวนการคิดเพื่อประยุกต์ใช้ในโครงงานวิทยาศาสตร์ (ผศ.ดร.สิริพิศ พิศชวนชม ดร.เอื้ออาทร ราชจันทร์ (ภาควิชาเคมี))
  2. การพัฒนาทักษะการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย Easy Lab สำหรับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ผศ.ดร.คงวิทย์ ประสิทธิ์นอก ดร.อรสา อินทร์น้อย (ภาควิชาเคมี))
  3. การพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ของครูวิทยาศาสตร์สำหรับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ดร.อัณศยา ท่อนโพธิ์ รศ.ดร.ประสงค์ สีหานาม (ภาควิชาเคมี))
  4. การพัฒนาสมรรถนะครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นด้านเทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียนเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ผศ.ดร.มะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์ รศ.ดร.นิภาพร ชุติมันต์ (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  5. การสร้างสื่อการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม GeoGebra (ระดับพื้นฐาน) (ผศ.ดร.ดรุณี บุญชารี ดร.มนชยา เจียงประดิษฐ์ (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  6. การสร้างสื่อการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (ระดับพื้นฐาน) (ผศ.ดร.ดรุณี บุญชารี ดร.มนชยา เจียงประดิษฐ์ (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  7. เทคนิคการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบองค์รวมสำหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (รศ.จีระพรรณ สุขศรีงาม ผศ.ดร.วิลาวัณย์ พร้อมพรม (ภาควิชาชีววิทยา))
  8. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับครูมัธยมศึกษาตอนต้น (รศ.จีระพรรณ สุขศรีงาม ผศ.ดร.วิลาวัณย์ พร้อมพรม (ภาควิชาชีววิทยา))
ระดับช่วงชั้นในการศึกษา : ม.ปลาย
  1. การพัฒนาสมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้านกระบวนการคิดเพื่อประยุกต์ใช้ในโครงงานวิทยาศาสตร์ (ผศ.ดร.สิริพิศ พิศชวนชม ผศ.ดร.คงวิทย์ ประสิทธิ์นอก (ภาควิชาเคมี))
  2. การพัฒนาทักษะการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย Easy Lab สำหรับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ผศ.ดร.คงวิทย์ ประสิทธิ์นอก ดร.อรสา อินทร์น้อย (ภาควิชาเคมี))
  3. การพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ของครูวิทยาศาสตร์สำหรับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (รศ.ดร.ประสงค์ สีหานาม ดร.อัณศยา ท่อนโพธิ์ (ภาควิชาเคมี))
  4. การสร้างสื่อการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้โปรแกรมThe Geometer’s Sketchpad (ระดับพื้นฐาน) (ดร.วิภาวี ตั้งใจ รศ.ดร.นิภาพร ชุติมันต์ (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  5. การสร้างสื่อการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้โปรแกรม GeoGebra (ระดับพื้นฐาน) (ดร.วิภาวี ตั้งใจ รศ.ดร.นิภาพร ชุติมันต์ (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  6. การบูรณาการสะเต็มศึกษา (STEM Education) ร่วมกับ TPCK เพื่อการเรียนการสอนชีววิทยาในศตวรรษที่ 21 (ระดับพื้นฐาน) (ดร.บุษรา ยงคำชา ผศ.ดร.วิลาวัณย์ พร้อมพรม (ภาควิชาชีววิทยา))
  7. การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้ฟิสิกส์สำหรับครูมัธยมศึกษาตอนปลาย Developing teaching media innovation for highschool teacher (รศ.จีระพรรณ สุขศรีงาม ผศ.ดร.คมศร เลาห์ประเสริฐ (ภาควิชาชีววิทยา))
  8. การเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ฟิสิกส์สำหรับครูมัธยมศึกษาตอนปลาย Capacity building of physics learning for highschool teacher (รศ.ดร.มงคล อุดชาชน ผศ.ดร.หทัยทิพย์ อุดชาชน (ภาควิชาชีววิทยา))

==> ความลุ่มลึกของหลักสูตร : ระดับกลาง

ระดับช่วงชั้นในการศึกษา : ระดับ ม.ต้น
  1. การสร้างสื่อการสอนคณิตศาสตร์ มัธยมศึกษาตอนต้น ด้วยโปรแกรม The Geomter’s Sketchpad (GPS) ระดับกลาง (ผศ.ดร.มนตรี ทองมูล ดร.โรจนี หอมชาลี (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  2. การสร้างสื่อการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้โปรแกรม GeoGebra (ระดับกลาง) (ผศ.ดร.มนตรี ทองมูล ดร.โรจนี หอมชาลี (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  3. การเตรียมและการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อการเกษตรอินทรีย์อย่างยั่งยืน (ระดับกลาง) (ดร.สุรศักดิ์ ขันคำ ผศ.ดร.วราภรณ์ สุทธิสา (ภาควิชาชีววิทยา))
  4. บรรพชีวินวิทยาและวิทยาศาสตร์โลกในการสอนวิทยาศาสตร์ (รศ.ดร.มงคล อุดชาชน ผศ.ดร.คมศร เลาห์ประเสริฐ ผศ.ดร.หทัยทิพย์ อุดชาชน (ภาควิชาชีววิทยา))
ระดับช่วงชั้นในการศึกษา : ระดับ ม.ปลาย
  1. การสร้างสื่อการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้โปรแกรม GeoGebra (ระดับกลาง) (ผศ.ดร.โชคชัย วิริยะพงษ์ ผศ.ดร.สุจิตตา สุระภี (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  2. การสร้างสื่อการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (ระดับกลาง) (ผศ.ดร.โชคชัย วิริยะพงษ์ ผศ.ดร.สุจิตตา สุระภี (ภาควิชาคณิตศาสตร์))
  3. เทคนิคการใช้ไลเคนเป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพอากาศและการสะสมโลหะหนักในทัลลัสไลเคนสำหรับครูวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย (ระดับกลาง) (รศ.ดร.ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุล ผศ.ดร.ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล (ภาควิชาชีววิทยา))
  4. เทคนิคการจัดจำแนกเห็ดพิษโดยใช้ลักษณธทางสัณฐานวิทยาสำหรับครูวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย(ระดับกลาง) (รศ.ดร.ขวัญุเรือน นาคสุวรรณ์กุล ผศ.ดร.ปิยะเนตร จันทร์ถิระติกุล (ภาควิชาชีววิทยา))

ติดต่อเรา

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150

043-754247 – 8
043-754-322 ต่อ 1155

email : stc@msu.ac.th